การกสิกรรม
อำเภอบึงกาฬมีพื้นที่ทั้งสิ้น 521,156 ไร่ เป็นพื้นที่ทำการเกษตร จำนวน 420,865 ไร่
ผลผลิตที่สำคัญ
1.พืชไร่ จำนวน 14,443 ไร่
2.พืชสวน จำนวน 88,330 ไร่
3.พืชผัก จำนวน 1,739 ไร่
4.ไม้ดอกไม้ประดับ จำนวน 5 ไร่
5.นาข้าว จำนวน 1,118,979 ไร่
6.ไม้ผล จำนวน 18,429 ไร่
7.พื้นที่การเกษตรอื่น ๆ จำนวน 183,940 ไร่
การศึกษา
-โรงเรียนสังกัดสำนักงานการประศึกษาแห่งชาติ 51 แห่ง
-โรงเรียนเอกชน 1 แห่ง
จำนวนครู 530 คน
จำนวนนักเรียน 10,672 คน
-โรงเรียนมัธยม 4 แห่ง (ม.1-ม.6)
จำนวนครู 120 คน
จำนวนนักเรียน 3,022 คน
-วิทยาลัยการอาชีพ 1 แห่ง)
จำนวนครู 30 คน
จำนวนนักเรียน 1,747 คน
-โรงเรียน ตชด. 3 แห่ง
ศาสนา
วัด จำนวน 202 แห่ง
สำนักสงฆ์ จำนวน 15 แห่ง
โบสถ์คริสต์ จำนวน 2 แห่ง
พระภิกษุ จำนวน 483 แห่ง
สามเณร จำนวน 421 แห่ง
การสาธารณูปโภต
-สำนักงานการประปาส่วนภูมิภาค จำนวน 1 แห่ง
-สำนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จำนวน 1 แห่ง
-สำนักงานการไฟฟ้าแรงสูง จำนวน 1 แห่ง
-สำนักงานบริการโทรศัพท์ จำนวน 1 แห่ง
-สำนักงานโทรคมนาคม จำนวน 1 แห่ง
-ที่ทำการไปรษณีย์ จำนวน 1 แห่ง
-สถานีจอดรถโดยสาร จำนวน 1 แห่ง
-สถานีจอดรถโดยสารปรับอากาศ จำนวน 1 แห่ง
-ตลาดสดเทศบาล จำนวน 1 แห่ง
การพาณิชย์
-ธนาคาร จำนวน 4 แห่ง
-ห้างหุ้นส่วนบริษัท จำนวน 50 แห่ง
-ร้านค้า จำนวน 368 แห่ง
การสาธารณสุข-สงเคราะห์
-โรงพยาบาลขนาด 90 เตียง จำนวน 1 แห่ง
-สถานีอนามัยประจำตำบล จำนวน 12 แห่ง
-สำนักงานกิ่งกาชาดอำเภอบึงกาฬ จำนวน 1 แห่ง
-ศูนย์อำนวยการช่วยเหลือราษฎรผู้ประสบภัยพิบัติ 1 แห่ง
-ศูนย์ดำรงธรรมอำเภอบึงกาฬ จำนวน 1 แห่ง
สถานบริการ
-ร้านอาหาร จำนวน 10 แห่ง
-โรงแรม/ที่พัก จำนวน 5 แห่ง
-คาราโอเกะ จำนวน 5 แห่ง
-โรงภาพยนต์ จำนวน 1 แห่ง
ปัญหาที่ประสบสังคมและเศรษฐกิจ
1.ปัญหาด้านเศรษฐกิจ ราษฎรทั่วไปมีฐานะยากจน
2.พื้นที่ทำกิน มีน้อยก่อให้เกิดปัญกาบุกรุกป่า/ที่สาธารณะ
3.ปัญหาความมั่นคง ลักลอบหนีภาษี
ลักลอบเข้าเมือง
การก่อความไม่สงบ
อาชญกรรม
ยาเสพติด
การแก้ไขปัญหา
1.ด้านเศรษฐกิจ
1.1 การดำเนินงานตามโครงการนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล
1.2 ดำเนินการโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ เศรษฐกิจ แบบพอเพียงเฉลิมพระเกียรติ
2.ด้านพื้นที่ทำกินประสานร่วมมือกับสำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตรให้ราษฎรมีที่ทำกินเป็น
ของตนเอง
3.ด้านความมั่นคง ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น นปข.,ด่านศุลการกร,
ตชด. ที่ 244 บึงกาฬกองร้อย อส.ที่ 4อ.บึงกาฬ,และสภ.อ.บึงกาฬเพื่อป้องกันปราบปรามผู้ ลักลอบค้าสินค้าหนีภาษีและหลบหนีเข้าเมือง,การนำเข้ายาเสพติดทุกประเภท ตลอดจน อาชญากรรมต่าง ๆ
4.ด้านสังคม ให้ความช่วยเหลือสงเคราะห์ราษฎรผู้ประสบภัยพิบัติ โดยใช้งบทดลองราชการ
รณรงค์ป้องกันและปราบปรามผู้ทำ ผู้ค้า ผู้เสพ ยาเสพติดให้หมดไปจากอำเภอบึงกาฬ โดยตั้ง
เป้าหมายให้อำเภอเป็นเขตปลอดยาบ้า ในปี 2546
อาชีพและรายได้
ราษฎรในพื้นที่ประกอบอาชีพทางการเกษตร (ทำนา ทำไร่ ทำสวนยางพารา) และทำการ
ประมง ปศุสัตว์ และอุตสาหกรรมในครัวเรือนรายได้เฉลี่ย 12,000 บาท/ปี/คน
ผลการดำเนินงานตามนโยบายเร่งด่วนรัฐบาล
1.โครงการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (บสย.)
(One Tampon One Produck = OTOP)
เป็นแนวคิดที่เน้นขบวนการสร้างรายได้จากผลิตภัณฑ์ในแต่ละหมู่บ้าน/ตำบล และส่งเสริม
สนับสนุนให้ท้องถิ่นสามารถสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ โดยมีกิจกรรมการคิดค้น และพัฒนาผลิตภัณฑ์
ที่ผ่านเวทีประชาคมตำบล/อำเภอแล้ว 22 ผลิตภัณฑ์
1.ผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการประเมินศักยภาพ 12 ชนิด
ระดับ 3 ดาว จำนวน 9 ชนิด
ระดับ 2 ดาว จำนวน 3 ชนิด
ระดับ 1 ดาว ไม่มี
2.เป้าหมายการจำหน่ายในปีงบประมาณ 2546 จำนวน 18 ล้านบาท
3.ยอดจำหน่าย ประจำเดือนพฤษภาคม 2546 จำนวน 120,000 บาท
4.ยอดจำหน่ายจากเดือนตุลาคม-พฤษภาคม 2546 จำนวน 10,807,000 บาท (60%)
2.โครงการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ผลการดำเนินงาน
1.จำนวนหมู่บ้านทั้งหมด 131 หมู่บ้าน
2.ผ่านการประเมินความพร้อมระดับจังหวัด จำนวน 131 หมู่บ้าน (100 %)
3.ได้รับจัดสรรเงินกองทุนแล้ว 131 หมู่บ้าน
4.สมาชิกทั้งหมด 15,473 ราย
5.เงินที่อนุมัติให้สมาชิกกู้ยืม จำนวน 261,218,000 ล้านบาท
6.เงินคงเหลือค้างบัญชีเงินฝากกองทุนหมู่บ้าน จำนวน 782,000 ล้านบาท (0.30 %)
7สมาชิกกองทุนส่งใช้คืนเงินกู้แล้ว จำนวน 8,562 ราย รวมเป็นเงิน 138,045,000 บาท
8.สมาชิกส่งใช้เงินกู้ครบถ้วน และจัดทำงบดุลแล้ว จำนวน 125 กองทุนคงเหลือ 6 กองทุน
9.กำไรในการดำเนินการงานรวม 3,190,326 ล้านบาท
10.ให้สมาชิกกู้ยืมเงินแล้ว 14,347 ราย (90.67)
11.เหลือสมาชิกค้างชำระเงินกู้ตามกำหนดสัญญาเป็นเงิน 257,000 บาท
3.โครงการธนาคารประชาชน
-ผู้สมัครเป็นสมาชิก จำนวน 828 ราย
-ผู้สมัครที่ยื่นเรื่องขอกู้ จำนวน 814 ราย
-อนุมัติเงินกู้ จำนวน 775 ราย
-วงเงินกู้ทั้งสิ้น จำนวน 15,935,000 ราย
4.โครงการพักชำระหนี้และลดภาระหนี้เกษตรกร
-ลูกค้าที่เข้าร่วมโครงการพักชำระหนี้ จำนวน 4,290 ราย
-เงินโครงการพักชำระหนี้ จำนวน 124,888,880 บาท
-เกษตรกรเข้าร่วมโครงการออมเงินตามแผนการฟื้นฟูจำนวน 14,099,585 บาท
โครงการรับจำนำข้าวเปลือกปี 2545/2546
-ข้าวเหนียวจำนวนที่ยุ้งฉาง 12 ราย จำนวน 45 ตัน เป็นจำนวน 241,200 บาท
-ข้าวจ้าวหอมมะลิ จำนำประทวน 3 ราย จำนวน 16.5 ต้น เป็นเงิน 108,443 บาท
5.โครงการฟื้นฟูอาชีพเกษตรกรหลังการพักชำระหนี้
-เป้าหมาย 3,789 ราย งบประมาณ 18,945,000 บาท
-เกษตรกรเข้าร่วมโครงการในปี 2544 จำนวน 694 ราย
-เกษตร จำนวน 574 ราย
-ปศุสัตว์ จำนวน 100 ราย
-ประมง จำนวน 10 ราย
-เกษตรเข้าร่วมโครงการในปี 2545 จำนวน 1,607 ราย
-เกษตร จำนวน 1,164 ราย
-ปศุสัตว์ จำนวน 312 ราย
-ประมง จำนวน 130 ราย
-เกษตรเข้าร่วมโครงการในปี 2546 จำนวน 949 ราย
-เกษตร จำนวน 352 ราย
-ปศุสัตว์ จำนวน 514 ราย
-ประมง จำนวน 83 ราย
-เกษตรกรเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น จำนวน 3,250 ราย
6.โครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้า 30 บาท รักษาทุกโรค
-เป้าหมาย จำนวน 70,055 บัตร
-ออกบัตรแล้วทั้งสิ้น จำนวน 75,119 บัตร
-แจกจ่ายให้ราษฎรเพื่อใช้สิทธิ์ตามสถานีอนามัยและโรงพยาบาล จำนวน 75,119 บัตร
-ได้สำรวจผู้ที่ยังไม่ได้รับบัตร/การออกบัตรให้เด็กแรกเกิดและผู้ที่ได้รัยการยกเว้นค่าธรรมเนียม
ข้อมูลจาก บึงกาฬ.com
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น